ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฉียว ฉือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Burgershot2004 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
Burgershot2004 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
ในปี 2528 หัวหน้าสายลับจีน [[ยฺหวี เฉียงเชิง]] ได้แปรพักตร์ไปยังสหรัฐ ส่งผลให้ [[เฉิน พีเสี่ยน]] สมาชิกคณะกรมการเมืองและเลขาธิการ[[คณะกรรมาธิการกลางฝ่ายกิจการการเมืองและกฎหมาย]] ถูกปลดจากตำแหน่ง เฉียวจึงได้รับเลือกให้เข้ามาแทนที่ อีกเหตุผลหนึ่งคือเขามีความใกล้ชิดกับเลขาธิการใหญ่ [[หู เย่าปัง]] และได้รับความไว้วางใจจากจาก[[เติ้ง เสี่ยวผิง]] ผู้นำสูงสุดของจีน<ref name="niulei">{{cite news|last1=Niu Lei|script-title=zh:牛泪:乔石与江泽民交往秘史|url=http://history.dwnews.com/news/2015-06-14/59660413.html|work=Duowei (History Channel)|date=June 14, 2015}}</ref> ด้วยผลงานและความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ในปีเดียวกัน เฉียวก็ได้รับเลือกเป็นสมาชิก[[กรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีน]] ซึ่งถือเป็นอันดับสองของอำนาจในพรรค และในปี 2529 เขาก็ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง[[รองนายกรัฐมนตรีจีน|รองนายกรัฐมนตรี]]<ref name="Mackerras" /><ref name="britannica" />
ในปี 2528 หัวหน้าสายลับจีน [[ยฺหวี เฉียงเชิง]] ได้แปรพักตร์ไปยังสหรัฐ ส่งผลให้ [[เฉิน พีเสี่ยน]] สมาชิกคณะกรมการเมืองและเลขาธิการ[[คณะกรรมาธิการกลางฝ่ายกิจการการเมืองและกฎหมาย]] ถูกปลดจากตำแหน่ง เฉียวจึงได้รับเลือกให้เข้ามาแทนที่ อีกเหตุผลหนึ่งคือเขามีความใกล้ชิดกับเลขาธิการใหญ่ [[หู เย่าปัง]] และได้รับความไว้วางใจจากจาก[[เติ้ง เสี่ยวผิง]] ผู้นำสูงสุดของจีน<ref name="niulei">{{cite news|last1=Niu Lei|script-title=zh:牛泪:乔石与江泽民交往秘史|url=http://history.dwnews.com/news/2015-06-14/59660413.html|work=Duowei (History Channel)|date=June 14, 2015}}</ref> ด้วยผลงานและความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ในปีเดียวกัน เฉียวก็ได้รับเลือกเป็นสมาชิก[[กรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีน]] ซึ่งถือเป็นอันดับสองของอำนาจในพรรค และในปี 2529 เขาก็ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง[[รองนายกรัฐมนตรีจีน|รองนายกรัฐมนตรี]]<ref name="Mackerras" /><ref name="britannica" />


ระหว่างปี 2530–2540 เฉียวก็ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญยิ่ง นั่นคือ สมาชิก[[คณะกรรมาธิการถาวรประจำกรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีน]] ซึ่งเป็นคณะกรรมาธิการตัดสินใจสูงสุดของจีน โดยเขารับผิดชอบงานด้านต่าง ๆ ที่หลากหลาย ได้แก่ <ref name="niulei" /> From 1987 to 1992, he also served as the [[Secretary of the Central Commission for Discipline Inspection]], the party's agency in charge of anti-corruption efforts.<ref name="britannica" />
ระหว่างปี 2530–2540 เฉียวได้ดำรงตำแหน่งสำคัญยิ่ง นั่นคือ สมาชิก[[คณะกรรมาธิการถาวรประจำกรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีน]] ซึ่งเป็นคณะกรรมาธิการตัดสินใจสูงสุดของจีน โดยเขารับผิดชอบงานด้านต่าง ๆ ที่หลากหลาย ได้แก่ <ref name="" />


ระหว่างปี 2530–2535 นอกจากการเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการถาวรประจำกรมการเมืองแล้ว เฉียวยังดำรงตำแหน่งเลขาธิการ[[คณะกรรมาธิการสอบวินัยส่วนกลาง (ประเทศจีน)|คณะกรรมาธิการสอบวินัยส่วนกลาง]] (Central Commission for Discipline Inspection) ซึ่งเป็นหน่วยงานปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันภายในพรรค<ref name="britannica" />
===Tiananmen Square and aftermath===
Qiao Shi was thought to have played a key role during the [[Tiananmen Square protests of 1989]], but it is uncertain whether he supported or opposed the crackdown against the student protesters.<ref name=gan/> Most sources, including the autobiography of General Secretary [[Zhao Ziyang]], said that Qiao Shi held an ambivalent position on how to deal with the protests. He was said to be tolerant of the student movement, and abstained from a May 1989 Politburo vote on whether to send the army to [[Tiananmen Square]].<ref name="Mackerras"/>


===จัตุรัสเทียนอันเหมินและผลพวง===
Qiao Shi managed to keep his leadership position when his Politburo colleagues Zhao Ziyang and [[Hu Qili]], who opposed the crackdown, were purged. In the political aftermath of Tiananmen Square, Qiao Shi and Premier [[Li Peng]] were touted as two of the top candidates to lead the party. However, Deng and many [[Eight Elders|party elders]] felt that Li Peng was too far left and unwilling to transition China out of a [[planned economy]] to take the top job. Qiao Shi therefore appeared to be a 'default' choice based on his experience and seniority at the time.<ref name="Song2013"/> Deng personally arranged a meeting with Qiao Shi to discuss the leadership question.<ref name=niulei/> However, Qiao Shi eventually lost out to his rival, Shanghai [[Chinese Communist Party Committee Secretary|Party Committee Secretary]] [[Jiang Zemin]], who assumed the party's leading post in 1989 and the presidency in 1993.<ref name="Song2013"/>
เฉียว ฉือ ถูกมองว่ามีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์[[การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532|การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน]]ในปี 2532 แต่ยังไม่แน่ชัดว่าเขาสนับสนุนหรือต่อต้านการปราบปรามนักศึกษาผู้ประท้วง<ref name="gan" /> แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่ รวมถึงอัตชีวประวัติของอดีตเลขาธิการพรรค [[จ้าว จื่อหยาง]] ระบุว่า เฉียวมีจุดยืนที่คลุมเครือเกี่ยวกับวิธีจัดการกับผู้ประท้วง เขาถูกกล่าวว่ามีความอดทนต่อขบวนการนักศึกษา และงดออกเสียงในการลงคะแนนของคณะกรมการเมืองบูโรในเดือนพฤษภาคม 2532 เกี่ยวกับเรื่องการส่งกองทัพไปยัง[[จัตุรัสเทียนอันเหมิน]]<ref name="Mackerras" />

It was never made clear why Qiao Shi did not get the nod to become party leader. Observers speculated that Qiao Shi had too much prior experience in law enforcement and therefore was more prone to hardline, aggressive tactics to deal with issues, or that Qiao Shi had lost favour with important "party elders" &ndash; retired leaders who nevertheless held significant influence in the leadership succession process. Qiao Shi instead became [[Chairman of the Standing Committee of the National People's Congress]] in March 1993, officially ranked third in political positions in the People's Republic of China, after General Secretary and Premier. As head of the national legislature, he tried to strengthen China's legal system and turn the national congress from a [[rubber-stamp]] body into an institution with real power in establishing the [[rule of law]].<ref name=gan/> Dissident leader and Tiananmen student leader [[Wang Dan (dissident)|Wang Dan]] once commented, "Although Qiao Shi is a master of illusions, it's possible that he could lead China toward more enlightened rule."<ref name="Song2013"/>

===Relationship with Jiang Zemin===
After 1989, Qiao Shi was known to have a tense relationship with the newly anointed General Secretary Jiang Zemin. Jiang, who had overnight climbed from a municipal leader to [[Leader of the Chinese Communist Party]], was a mere Politburo member at the time he was called up to Beijing to take the reins (Qiao was a Standing Committee member, one rank above Jiang). Qiao was a party veteran who had served the central organization for over a decade, while Jiang never had any experience in the centre. Qiao also had a glowing resume with revolutionary credentials during his days as a student agitator in Shanghai; Jiang's revolutionary experience appeared unsubstantial by comparison.<ref name=niulei/> As a result, it was not lost on political observers and those in the highest echelons of power that Jiang had 'leapfrogged' over Qiao, who by all measures seemed more qualified, had better credentials, and had a wider political network compared to Jiang.<ref name=niulei/> Moreover, Qiao Shi's time as China's law enforcement chief meant that he had trusted aides staffed in key positions around the country, which was seen as a dormant threat if not an explicit challenge to Jiang's leadership.<ref name="niulei"/>


== เกษียณ ==
== เกษียณ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:15, 10 กุมภาพันธ์ 2567

เฉียว ฉือ
เจี่ยง จื้อถง
乔石
ไฟล์:Qiaoshi in 1994.jpg
ประธานสภาประชาชนแห่งชาติ คนที่ 6
ดำรงตำแหน่ง
27 มีนาคม พ.ศ. 2536 – 15 มีนาคม พ.ศ. 2541
ก่อนหน้าว่าน หลี่
ถัดไปหลี่ เผิง
เลขาธิการคณะกรรมาธิการสอบวินัยส่วนกลาง
ดำรงตำแหน่ง
1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 – 18 ตุลาคม พ.ศ. 2535
ก่อนหน้าเฉิน ยฺหวิน
ถัดไปเว่ย์ เจี้ยนสิง
ผู้อำนวยการสำนักงานทั่วไปพรรคคอมมิวนิสต์จีน
ดำรงตำแหน่ง
มืถุนายน พ.ศ. 2526 – เมษายน พ.ศ. 2527
เลขาธิการใหญ่หู เย่าปัง
ก่อนหน้าหู ฉี่ลี่
ถัดไปหวัง จ้าวกั๋ว
เลขาธิการคณะกรรมาธิการกิจการการเมืองและกฎหมายส่วนกลาง
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2528 – พ.ศ. 2535
ก่อนหน้าเฉิน พีเสี่ยน
ถัดไปเหริน เจี้ยนซิน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด24 ธันวาคม พ.ศ. 2467
จีน เซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐจีน
เสียชีวิต14 มิถุนายน พ.ศ. 2558 (90 ปี)
จีน ปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน
พรรคการเมือง พรรคคอมมิวนิสต์จีน (2483–2541)
คู่สมรสยฺวี่ เหวิน (สมรส 2495; เสียชีวิต 2556)
บุตรเจี๋ยง เสี่ยวหมิน (ชาย)
เฉียว เสี่ยวซี (หญิง)
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอีสต์ไชนายูไนเต็ด
มหาวิทยาลัยริไจนา นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (แคนาดา; 2539)
อาชีพนักการเมือง
วิชาชีพวรรณกรรม
เฉียว ฉือ
อักษรจีนตัวเต็ม喬石
อักษรจีนตัวย่อ乔石

เฉียว ฉือ (จีนตัวย่อ: 乔石; จีนตัวเต็ม: 喬石; พินอิน: Qiáo Shí; 24 ธันวาคม พ.ศ. 2467 – 14 มิถุนายน พ.ศ. 2558) ชื่อเดิม เจี่ยง จื้อถง (蒋志彤) เป็นนักการเมืองชาวจีนและเป็นหนึ่งในผู้นำระดับสูงของพรรคคอมมิวนิสต์จีน เขาเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิถาวรการประจำกรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีน ซึ่งเป็นองค์กรที่มีอำนาจตัดสินใจสูงสุดของประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2530–2540 เขาเป็นคู่แข่งกับเจียง เจ๋อหมินในการชิงตำแหน่งผู้นำสูงสุดของจีน แต่ประสบความพ่ายแพ้ เขาจึงได้รับตำแหน่งประธานสภาประชาชนแห่งชาติแทน และถูกนับเป็นผู้ที่มีอำนาจมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 จนกระทั่งเกษียณอายุในปี 2541[1]

เมื่อเปรียบเทียบกับกับเจียง เฉียวมีจุดยืนในนโยบายการเมืองและเศรษฐกิจที่เสรีมากกว่า ส่งเสริมหลักนิติธรรมและการปฏิรูปที่มุ่งเน้นตลาดของรัฐวิสาหกิจ[2]

ชีวิตช่วงต้น

เฉียว ฉือ เกิดเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2467 ชื่อเดิมของเขาคือ เจี่ยง จื้อถง (蔣志彤; Jiǎng Zhìtóng) ที่เซี่ยงไฮ้ บิดาของเขาเป็นชาวติงไห่ มณฑลเจ้อเจียง ทำงานเป็นนักบัญชีในเซี่ยงไฮ้ ส่วนมารดาเป็นกรรมกรที่โรงงานทอผ้าหมายเลข 1 ของเซี่ยงไฮ้[3] เขาศึกษาเอกวรรณคดีที่มหาวิทยาลัยอีสต์ไชน่า แต่ไม่ได้จบการศึกษา เขาใช้ชื่อในการทำกิจกรรมปฏิวัติใต้ดินว่า เจี่ยง เฉียวฉือ ตั้งแต่ตอนอายุเพียง 16 ปี ตามธรรมเนียมในยุคนั้นสำหรับเยาวชนที่ใฝ่ฝันจะเป็นคอมมิวนิสต์ ต่อมาเขาได้ละทิ้งนามสกุลเจี่ยงไปโดยสิ้นเชิงและเรียกตนเองว่า "เฉียว ฉือ"[4][5]

ยุคเหมา

หลังการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2492 เฉียวได้ดำรงตำแหน่งผู้นำสันนิบาติเยาวชนคอมมิวนิสต์ประจำเมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง จนถึงปี 2497 ระหว่างปี 2497–2505 เขาทำงานที่บริษัทเหล็กกล้าอันชาน ในมณฑลเหลียวหนิง จากนั้นจึงย้ายไปทำงานที่บริษัทเหล็กกล้าจิ่วชวน ในมณฑลกานซู่[6]

ในปี พ.ศ. 2506 เฉียวได้รับการโยกย้ายไปทำงานที่กองการต่างประเทศของคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาระหว่างประเทศ และได้เดินทางไปเยือนประเทศคอมมิวนิสต์อื่น ๆ อย่างกว้างขวาง[4] ถึงกระนั้น ชีวิตของเฉียวก็พลิกผันอย่างเลวร้าย เมื่อการปฏิวัติทางวัฒนธรรมปะทุขึ้นในปี 2509 เนื่องจากภรรยาของเขา ยฺหวี เหวิน (于文) เป็นหลานสาวของเฉิน ปู้เหลย์ (陈布雷) ที่ปรึกษาคนสำคัญของเจียง ไคเชก หัวหน้าพรรคก๊กมินตั๋ง เฉียวต้องเผชิญกับการประณามซ้ำแล้วซ้ำเล่าในช่วงการต่อสู้กับพวกหัวเก่า (struggle sessions) ส่งผลให้เขาต้องเข้าโรงพยาบาลด้วยอาการแผลกะเทาะที่ลำไส้เล็กส่วนต้นและเลือดออก ในปี 2512 ทั้งเฉียวและภรรยาถูกส่งไปทำงานในฟาร์มแรงงานชนบท ก่อนแรกในมณฑลเฮย์หลงเจียง และต่อมาในมณฑลเหอหนาน เขาสามารถกลับมาทำงานที่กองการต่างประเทศได้อีกครั้งในปี 2514 เมื่อเกิ่ง เปียว เข้าดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการกองการ[3]

ขึ้นสู่อำนาจ

หลังสิ้นสุดการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เฉียวได้รับแต่งตั้งเป็นรองผู้อำนวยการกรมการต่างประเทศในปี 2521 และเลื่อนตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการในปี 2525 โดยรับผิดชอบการบริหารความสัมพันธ์กับพรรคคอมมิวนิสต์ต่างประเทศ นอกจากนี้ เขายังได้รับเลือกเป็นสมาชิกสำรองของคณะเลขาธิการกลาง ซึ่งเป็นหน่วยงานบริหารประจำวันของพรรค ต่อมาเขายังดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานทั่วไปของพรรคคอมมิวนิสต์จีน ซึ่งดูแลการบริหารงานประจำวันของพรรค และผู้อำนวยการกรมองค์การพรรค ซึ่งดูแลทรัพยากรบุคคล[4] ในช่วงที่เฉียวดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการสำนักงานทั่วไปของพรรค ได้มีการเปลี่ยนแปลงแนวทางการทำงานจากเดิมที่มุ่งเน้นการต่อสู้ทางชนชั้น มาเป็นการมุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปและเปิดประเทศ

ในปี 2528 หัวหน้าสายลับจีน ยฺหวี เฉียงเชิง ได้แปรพักตร์ไปยังสหรัฐ ส่งผลให้ เฉิน พีเสี่ยน สมาชิกคณะกรมการเมืองและเลขาธิการคณะกรรมาธิการกลางฝ่ายกิจการการเมืองและกฎหมาย ถูกปลดจากตำแหน่ง เฉียวจึงได้รับเลือกให้เข้ามาแทนที่ อีกเหตุผลหนึ่งคือเขามีความใกล้ชิดกับเลขาธิการใหญ่ หู เย่าปัง และได้รับความไว้วางใจจากจากเติ้ง เสี่ยวผิง ผู้นำสูงสุดของจีน[7] ด้วยผลงานและความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ในปีเดียวกัน เฉียวก็ได้รับเลือกเป็นสมาชิกกรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีน ซึ่งถือเป็นอันดับสองของอำนาจในพรรค และในปี 2529 เขาก็ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี[2][5]

ระหว่างปี 2530–2540 เฉียวได้ดำรงตำแหน่งที่สำคัญยิ่ง นั่นคือ สมาชิกคณะกรรมาธิการถาวรประจำกรมการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์จีน ซึ่งเป็นคณะกรรมาธิการตัดสินใจสูงสุดของจีน โดยเขารับผิดชอบงานด้านต่าง ๆ ที่หลากหลาย ได้แก่ ความมั่นคงภายใน หน่วยสืบราชการลับ กระบวนการยุติธรรม และวินัยของพรรค[7]

ระหว่างปี 2530–2535 นอกจากการเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการถาวรประจำกรมการเมืองแล้ว เฉียวยังดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมาธิการสอบวินัยส่วนกลาง (Central Commission for Discipline Inspection) ซึ่งเป็นหน่วยงานปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันภายในพรรค[5]

จัตุรัสเทียนอันเหมินและผลพวง

เฉียว ฉือ ถูกมองว่ามีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมินในปี 2532 แต่ยังไม่แน่ชัดว่าเขาสนับสนุนหรือต่อต้านการปราบปรามนักศึกษาผู้ประท้วง[1] แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่ รวมถึงอัตชีวประวัติของอดีตเลขาธิการพรรค จ้าว จื่อหยาง ระบุว่า เฉียวมีจุดยืนที่คลุมเครือเกี่ยวกับวิธีจัดการกับผู้ประท้วง เขาถูกกล่าวว่ามีความอดทนต่อขบวนการนักศึกษา และงดออกเสียงในการลงคะแนนของคณะกรมการเมืองบูโรในเดือนพฤษภาคม 2532 เกี่ยวกับเรื่องการส่งกองทัพไปยังจัตุรัสเทียนอันเหมิน[2]

เกษียณ

ความเสื่อมอำนาจและการเสียชีวิต

ครอบครัว

เกียรติยศ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Gan, Nectar (14 June 2015). "Former China Communist Party senior official Qiao Shi dies at 91". South China Morning Post. สืบค้นเมื่อ 8 January 2023.
  2. 2.0 2.1 2.2 Mackerras, Colin; McMillen, Donald H.; Watson, Andrew (2003). Dictionary of the Politics of the People's Republic of China. Routledge. p. 185. ISBN 978-1-134-53175-2.
  3. 3.0 3.1 Lu Mengjun (14 June 2015). 乔石往事: 妻子是陈布雷外甥女, "文革"期间被贴了大字报 [Qiao Shi's past: wife was a niece of Chen Bulei]. Eastday (ภาษาจีน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 June 2015. สืบค้นเมื่อ 15 June 2015.
  4. 4.0 4.1 4.2 Song, Yuwu (2013). Biographical Dictionary of the People's Republic of China. McFarland. p. 258. ISBN 978-0-7864-3582-1.
  5. 5.0 5.1 5.2 "Qiao Shi". Encyclopædia Britannica. สืบค้นเมื่อ 23 January 2010.
  6. 乔石同志简历. Eastday (ภาษาChinese (China)). 14 June 2015. สืบค้นเมื่อ 2020-02-03.[ลิงก์เสีย]
  7. 7.0 7.1 Niu Lei (June 14, 2015). 牛泪:乔石与江泽民交往秘史. Duowei (History Channel).